วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

สถาปัตยกรรม Deep Learning จากปัญญาประดิษฐ์ สู่ระบบต่างๆ

พัฒนาความฉลาดของเครื่องคอมพิวเตอร์ในการเรียนรู้และเข้าใจภาษาธรรมชาติและสามารถทำการตัดสินใจได้ด้วยตนเอง วิธีการฝึกฝนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีสาขาปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) นี้ เรียกว่า “Deep-learning”
ในปัจจุบันเข้าสู่ยุคคอมพิวเตอร์ในรูปแบบอุปกรณ์ติดตัว SmartPhone มีการใส่ algorithm ผสมผสานในซอฟต์แวร์
อำนวยความสะดวกให้แก่ผู้ใช้งาน สามารถประมวลผลข้อมูลจำนวนมากๆด้วยการจำลองเครือข่ายประสาทแบบเดียวกับในสมองของมนุษย์เรา เช่น ในส่วนของระบบจดจำเสียงพูด (Speech Recognition) จะสามารถโทรออกและรับสายด้วยเสียง หรือแม้กระทั้งสนทนา (Voice function) 
อนาคตอาจจะได้เห็นอุปกรณ์ที่มีการพัฒนาด้านนี้มากขึ้นเรื่อยๆ จนอาจทำให้มนุษย์อาจไม่ยากศึกษาหาความรู้ด้วยตัวแต่จะมุ่งเน้นอาศัยระบบนี้มากขึ้น แต่ก็หวังว่าจะมีนักพัฒนาที่สร้างสรรงานให้มนุษย์มุ่งเน้นอาศัยตัวเองมากกว่าระบบที่แสนจะฉลาดด้วยน้ำมือมนนุษย์สร้างมาเอง

วันจันทร์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2557

USB Connector ที่ยังไม่ใช่อนาคต













image by moddiy.com

USB 3.1 Type-C 

เป็นเทคโนโลยีที่จะมารองรับการทำงานส่งผ่านข้อมูลได้รวดเร็วกว่าถึงเท่าตัวคือ 10 Gpbs 
นอกจากนี้ ยังรองรับเทคโนโลยี USB Power Delivery ที่ใช้ในการรับส่งกระแสไฟฟ้า 100 วัตต์
และยังสามารถเสียบสลับด้านได้โดยไม่มีปัญหา
 ** เทคโนโลยีในลักษณะเพ่ิมความเร็วเพิ่มกำลังมีออกมามากก็เพราะแหล่งข้อมูลต่างๆมีหน่วยวัด
ที่สูงมากขึ้นเรื่อยเช่น รูปภาพมีความละเอียดมากก็จะมีหน่วยจัดเก็บที่มากประมาณ 1 Gbyte ถ้ามี
จำนวนรูปหลายรูปเวลาโอนถ่ายก็จะกินเวลานานจึงต้องมีการพัฒนา Connector